ความรัก, ความกำหนัด; เครื่องประดับอัน ยั่วยวนใจ, สมบัติ. ฉกษัตรย์ (ฉ้อ-กะ-, ฉอ-กะ-) น. กษัตริย์ ๖ พระองค์, ชื่อกัณฑ์ที่ ๑๒ ของมหาชาติ. เสกขบุคคล (เสก-ขะ-บุก-คน) น.
มลโค (มน-ละ-โค) (ภาษาปาก) น. อุจจาระพอเหลว ๆ คล้ายมูลโค. มนัสวี (มะ-นัด-สะ-วี) น. ผู้เป็นปราชญ์, ผู้มีใจเด็ดเดี่ยว, ผู้มีความคิดสูง. ปัจฉิมยาม (ปัด-ฉิม-มะ-ยาม) น.
อำมาตย์, ข้าราชบริพาร, เสนา, ขุนนาง. สุจหนี่ (สุด-จะ-หนี่) น. ผ้าปูที่นอน มีลายปักตามขอบ.
ข้าทูลละอองธุลีพระบาท, เรียกให้เต็มว่า บาทมูลิกากร. กากภาษา (กา-กะ-พา-สา) น. ชาติกา เช่น ลางมารนิรมิตอินทรีย์ เศียรเป็นอสุรี และกายเป็นกากภาษา. คือแบบว่าแต่งกลอน,กาพย์อะไรพวกนี้ไม่เป็นเลย เลยต้องการความช่วเหลืออย่างแรง ถ้าใครมีคำแนะนำอะไรก็พิมพ์บอกมาได้เลยนะคะ TwT plsss…. ศฤงคาร (สิง-คาน,สะ-หริง-คาน) น.
อาการที่ยกมือไหว้ถี่ผงก ๆ (ใช้แก่กริยาไหว้ ว่า ไหว้ปลก ๆ). Hotel Clover ชวนเปิดประสบการณ์ใหม่ กับอาหารชั้นเลิศ ในราคาเพียง 1,650 บ. องคาพยพ (อง-คาบ-พะ-ยบ, อง-คา-พะ-ยบ) น.
เกสรี (เก-สะ-รี, เกด-สะ-รี) น. ฑีฆสระ (ที-คะ-สะ-หระ) น. สระเสียงยาว เช่น อา อี ฯลฯ. แม่แปรก (แม่-ปะ-แหรก) หญิงสาวแก่ผู้เป็นหัวหน้าของหญิงสาวทั้งปวง; ช้างพังหัวหน้าโขลง, แม่หนัก ก็เรียก. มุโขโลกนะ (มุ-โข-โล-กะ-นะ) ว. เห็นแก่หน้า, เห็นแก่พวก, เช่น เขาเป็นคนมุโขโลกนะ.
สมุฏฐาน (สะ-หมุด-ถาน) น. ที่เกิด, ที่ตั้ง, เหตุ, เช่น สมุฏฐานของโรค โรคนี้มีจิตเป็นสมุฏฐาน. ความสำเร็จ, ความบรรลุผล, ความสุข, ความเจริญ, ลาภ, พร. เท้าผู้มีบุญ เช่น กษัตริย์. มัชฌิมยาม (มัด-ชิม-มะ-ยาม) น. ยามท่ามกลาง เที่ยงคืน เวลาระหว่าง ๒๒.๐๐ น.
ชื่อนกการเวก (ไตรภูมิ), ชื่อภูเขาชั้นที่ ๓ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. อินทรธนู (อิน-ทะ-นู) น. รุ้ง (แถบสีโค้งบนท้องฟ้า); เครื่องประดับบ่าอย่างหนึ่งเพื่อแสดงยศเป็นต้น; ชื่อลายขอบที่เป็นกระหนก. กลอักษร (กน-อัก-สอน, กน-ละ-อัก-สอน) น. บาทมูลิกากร (บาด-ทะ-มู-ลิ-กา-กอน) น. หมู่คนที่อยู่แทบบาทมูล คือ ข้าราชการในพระองค์.
มูลภัณฑ์กันชน (มูน-ละ-พัน-กัน-ชน) น. ของที่ซื้อสะสมไว้เมื่อมีราคาตํ่า และนําออกขายเมื่อของนั้นมีราคาสูงเกินควร เพื่อรักษาระดับราคาของนั้นให้มีเสถียรภาพ. ปัจเจกสมาทาน (ปัด-เจก-กะ-สะ-มา-ทาน) น. มูลิกากร (มู-ลิ-กา-กอน) น.
ส่วนน้อยและใหญ่แห่งร่างกาย, อวัยวะน้อยใหญ่. สวิทญญาณกทรัพย์ (สะ-วิน-ยา-นะ-หะ-ซับ, สะ-วิน-ยาน-นะ-กะ-ซับ) น. ทรัพย์สมบัติอันมีจิตใจ ได้แก่ ช้างม้า วัว ควาย ฯลฯ. ปัญญาสชาดก (ปัน-ยา-สะ-ชา-ดก, ปัน-ยาด-สะ-ชา-ดก) น. ชื่อคัมภีร์ชาดกคัมภีร์หนึ่งมี ๕๐ เรื่อง.
ผู้ที่ยังต้องศึกษาอยู่ หมาลถึงพระอริยะที่ยังไม่บรรลุพระอรหันต์ผล. ภารยทรัพย์ (พาระยะซับ) (กฎหมาย) น. อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของจะต้องรับภาระบางอย่างที่เกิดจากภาระจำยอม, คู่กับสามยทรัพย์. คนที่เป็นสัมมาทิฐิ, คนดีน่านับถือ มีคุณธรรมประพฤติอยู่ในศีลในธรรม. ข้อความที่ไม่ใช่ส่วนสำคัญของเรื่อง, ตรงข้ามกับ ใจความ. พระราชสมภารเจ้า (พระ-ราด-ชะ-สม-พาน-ระ-เจ้า) น.
สุญนิยม (สุน-ยะ-นิ-ยม) น. ลัทธิที่เชื่อว่าคนและสัตว์เกิดหนเดียว ตายแล้วสุญ บุญ บาป พระเจ้า นรก สวรรค์ ไม่มี. คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้ เครื่องประดับและเครื่องแต่งกายป 5. อักษรสาส์น (อัก-สอน-ระ-สาน, อัก-สอน-สาน) น. จดหมายของประธานาธิบดีหรือประมุขของประเทศซึ่งมีชื่อเป็นอย่างอื่นที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, เขียนเป็น อักษรสาสน (อ่านว่า อัก-สอน-สาน) ก็ได้. กรวิก (กะ-ระ-วิก, กอ-ระ-วิก) น.
อวชาตบุตร (อะ-วะ-ชา-ตะ-บุด, อะ-วะ-ชาด-ตะ-บุด) น. บุตรที่มีคุณสมบัติต่ำกว่าบิดามารดา. อวิญญญาณกทรัพย์ (อะ-วิน-ยา-นะ-หะ-ซับ, อะ-วิน-ยาน-นะ-กะ-ซับ) น. สิ่งที่ไม่มีวิญญาณหรือชีวิตซึ่งนับเป็นทรัพย์ เช่น เงิน ทอง ที่ดิน.
บุณฑริก (บุน-ดะ-ริก, บุน-ทะ-ริก) น. บัวขาว; ชื่อสังขยา คือ ๑ มี ๐ ตามหลัง ๑๑๒ ตัว; ชื่อช้างตระกูล ๑ ในตระกูลช้างทั้ง ๑๐. ประโยคสัมปทา (ประ-โย-คะ-สัม-ปะ-ทา) น. การถึงพร้อมด้วยความเพียร. อธิกมาส (อะ-ทิ-กะ-มาด, อะ-ทิก-กะ-มาด) น. เดือนที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือ ในปีนั้นมี ๑๓ เดือน มีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ สอง ๘.
บัวบาท, บัวรองเท้า, หมายความว่า เท้าพระพุทธเจ้าหรือพระเจ้าแผ่นดิน. ดูกร (ดู-กะ-ระ, ดู-กอน) ดูก่อน, ดูรา คำกล่าวขึ้นต้นข้อความกับผู้ที่จะพูดด้วยให้สนใจฟัง. สมุลแว้ง (สะ-หมุน-ละ-แว้ง) น. ต้นไม้ชนิดหนึ่ง เปลือกมีกลิ่นหอมร้อน ใช้ทำยา, บางทีเรียก อบเชยป่า.
ชื่อตำราไวยากรณ์ไทย ว่าด้วยประโยคและความเกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ในประโยค. สามยทรัพย์ (สา-มะ-ยะ-ซับ) (กฎหมาย) น. อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของได้รับประโยชน์เหนืออสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นที่ตกอยู่ในภาระจำยอม, คู่กับภารยทรัพย์. ผู้รับใช้, ผู้อยู่ใกล้ชิด, คนสนิท, ข้าราชการในราชสำนัก. บาทบงกช (บาด-ทะ-บง-กด, บาด-บง-กด) น.
อนุสติ (อะ-นุด-สะ-ติ) น. ความระลึกถึง; ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง เรียกว่า อนุสติ ๑๐ มีพุทธานุสติเป็นต้น. สรรพางค์ (สัน-ระ-พาง) น. ทั้งตัว, ทั่วตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาย เป็น สรรพางค์กาย เช่น เจ็บปวดทั่วสรรพางค์กาย, สารพางค์ ก็ว่า. ชื่อดาวนักษัตร, คำสามัญเรียก ดาวเพดาน (เหมือน ภัทรบาท). ชื่อหนึ่งของพระสรัสวดี; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์โรหิณี มี ๗ ดวง, ดาวคางหมูหรือ ดาวปลาตะเพียน ก็เรียก.
วิญญาณกทรัพย์ (วิน-ยา-นะ-หะ-ซับ, วิน-ยาน-นะ-กะ-ซับ) (คำโบราณ) น. สิ่งที่มีวิญญาณหรือชีวิตซึ่งนับเป็นทรัพย์ เช่น ทาส ช้าง ม้า วัวควาย, สวิญญาณกทรัพย์ ก็ว่า. อากาศธาตุ (อา-กาด-สะ-ทาด) น. ที่ว่างเปล่า, ความว่างเปล่า, ลม, แก๊ส. ราคาถูก ในสํานวนว่า ไม่กี่อัฐฬส, ไม่กี่อัฐ ก็ว่า. เสวกามาตย์ (เส-วะ-กา-มาด) น.
หนองที่เป็นก้อนแข็งอยู่ในเนื้อ; ชื่อหมอช้าง. โปรด, เดิมเขียน ปรวฏ ก็มี. ที่ตั้งและเครื่องทําให้เกิดเสียงในการพูด.
อุโบสถกรรม (อุ-โบ-สด-ถะ-กำ) น. การทำอุโบสถทุกวันขึ้น-แรม ๑๔ หรือ ๑๕ ค่ำ เป็นกิจวัตรของภิกษุ; ลงอุโบสถ, ลงโบสถ์ หมายถึงพระลงฟังการสวดปาติโมกข์ ทุก ๑๕ วันตามพระวินัย. อนุสาวนาจารย์ (อะ-นุ-สา-วะ-นา-จาน) น. อาจารย์ ผู้สวดอนุสาวนา พระคู่สวดในสังฆกรรมมี ๒ รูป คือ พระกรรมวาจาจารย์ กับพระอนุสาวนาจารย์. วากยสัมพันธ์ (วาก-กะ-ยะ-สำ-พัน) น.
เจตสิก (เจ-ตะ-สิก, เจด-ตะ-สิก) น. อาการของจิต เกิดดับพร้อมกับจิต มีที่อาศัยและอารมณ์ที่รับรู้อย่างเดียวกับจิต มี ๕๒ ประการ. เป็นไปในจิต เช่น สุขหรือทุกข์ที่เกิดในจิต.
บรรพมูล (บับ-พะ-มูน) น. วันขึ้น ๑ คํ่า และวันกลางเดือนทางจันทรคติ.